วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย
Vol.6 No.1 (มกราคม-เมษายน 2566)
:: วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประกอบไปด้วยบทความที่มีความหลากหลายสาขา ทั้งทางด้านศึกษาศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ รวมทั้งสิ้น 8 บทความ เป็นบทความวิชาการ 1 เรื่องและบทความวิจัย 7 เรื่อง โดยแต่ละบทความได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ที่มีความหลากหลายและมีความเชี่ยวชาญเฉพาะโดยตรง ทำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพของบทความ บทความแรก เป็นบทความวิชาการทางศึกษาศาสตร์เรื่อง “หัวใจสำคัญของการให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสำหรับครอบครัว” โดยปริวัตร ส่างหญ้านาง บทความที่สองและสาม เป็นบทความวิจัยทางด้านนิติศาสตร์ เรื่อง “รูปแบบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs)” โดย ปรีดา โชติมานนท์ และ “มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2552” โดย กัญจน์ สิริสิงห บทความที่สี่ “ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร” โดย เกรียงศักดิ์ จินาต๊ะ บทความที่ห้า “ศักยภาพการแข่งขันของตลาดการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ของไทย” โดย พรรณรวีย์ จันทรมาศ บทความที่หก “การปรับตัวของเกษตรกรเมื่อประสบปัญหาราคายางตกต่ำ: กรณีศึกษา เกษตรกรชาวสวนยางจังหวัดชุมพร” โดย กมลทิพย์ ขวัญใจ บทความที่เจ็ด “การวิเคราะห์คุณลักษณะของสมาร์ทโฟนที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคาสมาร์ทโฟน โดยวิธี Hedonic Pricing Model” โดย ไพรจิตรา พรายงาม และบทความสุดท้ายเรื่อง “การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับธุรกิจแฟรนไชส์หลังวิกฤติโควิด 19” โดย อรุณี เลิศกรกิจจา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความในวารสารนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ทั้งนี้ กองบรรณาธิการวารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย ขอเชิญชวนท่านส่งบทความตีพิมพ์ในวารสาร เพื่อเผยแพร่ความรู้ ซึ่งฉบับต่อไปเป็น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
Hit : 2486
Vol.6 No.1 (มกราคม-เมษายน 2566)
:: วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประกอบไปด้วยบทความที่มีความหลากหลายสาขา ทั้งทางด้านศึกษาศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการจัดการ รวมทั้งสิ้น 8 บทความ เป็นบทความวิชาการ 1 เรื่องและบทความวิจัย 7 เรื่อง โดยแต่ละบทความได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ที่มีความหลากหลายและมีความเชี่ยวชาญเฉพาะโดยตรง ทำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพของบทความ บทความแรก เป็นบทความวิชาการทางศึกษาศาสตร์เรื่อง “หัวใจสำคัญของการให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสำหรับครอบครัว” โดยปริวัตร ส่างหญ้านาง บทความที่สองและสาม เป็นบทความวิจัยทางด้านนิติศาสตร์ เรื่อง “รูปแบบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs)” โดย ปรีดา โชติมานนท์ และ “มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2552” โดย กัญจน์ สิริสิงห บทความที่สี่ “ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร” โดย เกรียงศักดิ์ จินาต๊ะ บทความที่ห้า “ศักยภาพการแข่งขันของตลาดการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ของไทย” โดย พรรณรวีย์ จันทรมาศ บทความที่หก “การปรับตัวของเกษตรกรเมื่อประสบปัญหาราคายางตกต่ำ: กรณีศึกษา เกษตรกรชาวสวนยางจังหวัดชุมพร” โดย กมลทิพย์ ขวัญใจ บทความที่เจ็ด “การวิเคราะห์คุณลักษณะของสมาร์ทโฟนที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคาสมาร์ทโฟน โดยวิธี Hedonic Pricing Model” โดย ไพรจิตรา พรายงาม และบทความสุดท้ายเรื่อง “การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับธุรกิจแฟรนไชส์หลังวิกฤติโควิด 19” โดย อรุณี เลิศกรกิจจา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความในวารสารนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ทั้งนี้ กองบรรณาธิการวารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย ขอเชิญชวนท่านส่งบทความตีพิมพ์ในวารสาร เพื่อเผยแพร่ความรู้ ซึ่งฉบับต่อไปเป็น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
Hit : 2486
Displaying 1-12 of 1 result.
No. | ชื่อเรื่อง | ผู้แต่ง | Hit | |
---|---|---|---|---|
1 | ปกใน | กองบรรณาธิการ | 271 | |
2 | บทบรรณาธิการ | กองบรรณาธิการ | 153 | |
3 | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำฉบับ | กองบรรณาธิการ | 185 | |
4 | สารบัญ | กองบรรณาธิการ | 132 | |
5 | 1. หัวใจสำคัญของการให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสำหรับครอบครัว (p.1-14) | ปริวัตร ส่างหญ้านาง, ไอรดา จำปาสา และ ดุลยภาส อยู่ชัชวาล | 655 | |
6 | 2. รูปแบบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) (p.15-26) | ปรีดา โชติมานนท์ และ สุขสมัย สุทธิบดี | 188 | |
7 | 3. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2552 (p.27-39) | กัญจน์ สิริสิงห และ จรัล เล็งวิทยา | 150 | |
8 | 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร (p.40-53) | เกรียงศักดิ์ จินาต๊ะ และ ปริณภา จิตราภัณฑ์ | 187 | |
9 | 5. ศักยภาพการแข่งขันของตลาดการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ของไทย (p.54-66) | พรรณรวีย์ จันทรมาศ และ เสวียน แก้ววงษา | 247 | |
10 | 6. การปรับตัวของเกษตรกรเมื่อประสบปัญหาราคายางตกตํ่า: กรณีศึกษา เกษตรกรชาวสวนยางจังหวัดชุมพร (p.67-75) | กมลทิพย์ ขวัญใจ และ ถวิล นิลใบ | 274 | |
11 | 7. การวิเคราะห์คุณลักษณะของสมาร์ทโฟนที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคาสมาร์ทโฟน โดยวิธี Hedonic Pricing Model (p.76-86) | ไพรจิตรา พรายงาม และ ถวิล นิลใบ | 137 | |
12 | 8. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล แรงจูงใจกับธุรกิจแฟรนไชส์ หลังวิกฤติโควิด-19 (p.87-101) | อรุณี เลิศกรกิจจา, ดวงใจ โอวจริยาพิทักษ์ และ ปิยดา ดาศรี | 188 |